







ออนไลน์ : 8
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐาน๑. ข้อมูลสภาพทั่วไป
องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย ตั้งอยู่ในเขตอำเภอธวัชบุรีจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลเมือง
น้อย เมื่อ พ.ศ.๒๕๔๐ อยู่ในเขตพื้นที่ของตำบลเมืองน้อย พื้นที่ ๑๘.๑๘ ตารางกิโลเมตร
๑.๑ ที่ตั้งอาณาเขต
ทิศเหนือติดกับตำบลอุ่มเม้า อำเภอธวัชบุรี
ทิศใต้ติดกับตำบลเขวาทุ่ง อำเภอธวัชบุรี
ทิศตะวันออก .ติดกับตำบลเหล่า กิ่ง อ.ทุ่งเขาหลวง และตำบลขี้เหล็ก อ.อาจสามารถ
ทิศตะวันตกติดกับตำบลหนองไผ่ อำเภอธวัชบุรี
ระยะห่างจากจังหวัด ๑๘ กิโลเมตร
๑.๒ ประชากร
หมู่ที่
|
หมู่บ้าน/ชุมชน |
ปี ๒๕๖๕ | |||
ครัวเรือน | ชาย | หญิง | รวม | ||
๑ | บ้านเมืองน้อย | ๑๖๐ | ๒๘๑ | ๓๑๔ | ๕๙๕ |
๒ | บ้านสวนอ้อย | ๑๓๔ | ๒๗๓ | ๓๐๕ | ๕๗๘ |
๓ | บ้านหนองแดง | ๙๔ | ๑๗๓ | ๑๘๘ | ๓๖๑ |
๔ | บ้านมะยาง | ๙๕ | ๑๙๓ | ๑๗๕ | ๓๗๑ |
๕ | บ้านหนองมะแซว | ๑๐๐ | ๒๒๑ | ๑๘๘ | ๔๐๙ |
๖ | บ้านยางสินไชย | ๑๐๗ | ๑๗๒ | ๑๖๔ | ๓๓๖ |
๗ | บ้านหนองเบิด | ๑๑๑ | ๒๔๙ | ๒๒๕ | ๔๗๔ |
๘ | บ้านหนองไผ่น้อย | ๑๐๕ | ๑๑๖ | ๑๓๘ | ๒๕๔ |
๙ | บ้านหนองลาดควาย | ๘๐ | ๑๒๗ | ๑๑๙ | ๒๔๖ |
๑๐ | บ้านโนนตังหมอง | ๑๑๓ | ๒๒๘ | ๒๑๕ | ๔๔๓ |
๑๑ | บ้านหนองมันปลา | ๑๐๗ | ๑๘๗ | ๑๗๐ | ๓๕๗ |
๑๐ | บ้านเมืองน้อย | ๑๑๒ | ๒๐๒ | ๒๑๕ | ๔๑๗ |
๑๓ | บ้านมะยาง | ๗๓ | ๑๔๖ | ๑๖๙ | ๓๑๕ |
รวม |
๑,๓๙๑ |
๒,๕๖๘ |
๒,๕๘๘ |
๕,๑๕๖ |
๑.๓ ลักษณะอาชีพของประชากร
ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม คือ การทำนา ทำสวน และการ
เลี้ยงสัตว์ เป็นอาชีพเสริมสร้างรายได้ให้แก่ครอบครัว
๑.๔ ลักษณะภูมิประเทศ
สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีหนองน้ำในการทำการเกษตร
๑.๕ ลักษณะภูมิอากาศ
องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย มีสภาพภูมิอากาศเป็นแบบมรสุม ๓ ฤดู
ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนมิถุนายนของทุกปี ซึ่งเดือนที่ร้อนที่สุด คือเดือนเมษายน
ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เตือนพฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคมของทุกปี ซึ่งเดือนที่มีฝนซุกที่สุด คือเดือนสิงหาคม
ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมของทุกปี ซึ่งเดือนที่หนาวที่สุด คือเตือนมากราคม
๑.๖ รูปแบบการปกครอง
องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย แบ่งเขตการปกครองเป็น ๑๓ หมู่บ้าน ดังนี้
๑. บ้านเมืองน้อย หมู่ที่ ๑
๒. บ้านสวนอ้อย หมู่ที่ ๒
๓. บ้านหนองดินแดง หมู่ที่ ๓
๔. บ้านมะยาง หมู่ที่ ๔
๕. บ้านหนองมะแชว หมู่ที่ ๕
๖.บ้านยางสินไชย หมู่ที่ ๖
๗. บ้านหนองเบิด หมู่ที่ ๗
๘. บ้านหนองไผ่น้อย หมู่ที่ ๘
๙. บ้านหนองลาดควาย หมู่ที่ ๙
๑๐. บ้านโนนตังหมอง หมู่ที่ ๑๐
๑๑. บ้านหนองมันปลา หมู่ที่ ๑๑
๑๒. บ้านเมืองน้อย หมู่ที่ ๑๒
๑๓. บ้านมะยาง หมู่ที่ ๑๓
๒. ข้อมูลด้านโครงสร้างพื้นฐานและสาธารณูปโภค
๒.๑ การคมนาคม/จราจร
การเดินทางเข้าสู่พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย สามารถเดินทางโดยรถยนต์
ระยะทางจากจังหวัดร้อยเอ็ด ประมาณ ๑๘ กิโลเมตร
๒.๒ ประปา
๒.๒.๑ จำนวนครัวเรือนที่ใช้บริการน้ำประปา จำนวน ๑,๓๓๑ ครัวเรือน
๒.๒.๒ หน่วยเจ้าของกิจการประปา องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย
๒.๒.๓ น้ำประปาที่ผลิตได้ จำนวน ๑.๕๐๐ ลบ.ม./วัน
๒.๒.๔ น้ำประปาที่ต้องการใช้ จำนวน ๑,๑๒๕ ลบ.ม./วัน
๒.๒.๕ แหล่งน้ำดิบสำหรับผลิตน้ำประปา คือ
(๑) แหล่งน้ำใต้ดิน
(๒) แหล่งน้ำผิวดิน
๒.๓ ไฟฟ้า
๒.๓.๑ ครัวเรือนที่มีไฟฟ้าใช้ ๑,๓๓๑ ครัวเรือน
๒.๓.๒ หน่วยงานที่ดำเนินกิจการไฟฟ้า ได้แก่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
๒.๔ แหล่งน้ำ
ลำดับที่ | ที่สาธารณะ | เนื้อที่ | พื้นที่ | หมายเหตุ |
๑ | หนองเมือง | ๗๒ ไร่ | หมู่ที่ ๑ | |
๒ | หนองดินกี่ | ๗๖ ไร่ | หมู่ที่ ๑ | |
๓ | หนองหว้า | ๒ ไร่ | หมู่ที่ ๒ | |
๔ | หนองมะแซว | ๒๘ ไร่ | หมู่ที่ ๕ | |
๕ | หนองซองมอง | ๑๐ ไร่ | หมู่ที่ ๖ | |
๖ | หนองหัวลิง | ๑๐ ไร่ | หมู่ที่ ๑๐ | |
๗ | หนองเบิด | ๑๐ ไร่ | หมู่ที่ ๗ | |
๘ | หนองสนามสัตว์ | ๓๕ ไร่ | หมู่ที่ ๗ | |
๙ | หนองขมิ้น | ๑๔ ไร่ | หมู่ที่ ๒ | |
๑๐ | หนองคาน้ำ | ๓ ไร่ | หมู่ที่ ๓ | |
๑๑ | หนองไผ่ล้อม | ๓ ไร่ | หมู่ที่ ๘ | |
๑๒ | หนองเทาสาธารณประโยชน์ | ๓๑ ไร่ | หมู่ที่ ๖ | |
๑๓ | หนองหัวคน | ๑๙ ไร่ | หมู่ที่ ๔ |
๓. ด้านเศรษฐกิจ
๓.๑ การพาณิชยกรรมและบริการ
๓.๑.๑ สถานบริการน้ำมัน จำนวน ๕ แห่ง
๓.๑.๒ โรงสี จำนวน ๒๐ แห่ง
๓.๑.๓ ฟาร์มไก่ จำนวน ๔ แห่ง
๓.๑.๔ ฟาร์มหมู จำนวน ๒ แห่ง
กลุ่มอาชีพขึ้นทะเบียน องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย
ตำบลเมืองน้อย อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด
๑. กลุ่มปุ้ยอินทรีย์ หมู่ ๑๒
๒. กลุ่มจักรสานพลาสติก
๓. กลุ่มเพาะเห็ดนางรมนางฟ้า
๔. กลุ่มสมุนไพรแปรรูปพัฒนา
๕. กลุ่มเมืองน้อยพัฒนาอาชีพ หมู่ ๑
๖. กลุ่มทอผ้าสไบขิต หมู่ ๔
๗.กลุ่มทอผ้าสไบขิต หมู่ ๑๓
๘. กลุ่มแม่บ้านทำขนม
๙. กลุ่มทอผ้าห่มอุ่นรัก
๑๐. กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรแปรรูปจากผ้า
๑๑. กลุ่มตัดเย็บกระเป๋าหนัง
๑๒. กลุ่มอาชีพตัดเย็บกระเป๋า
๓.๒ การปศุสัตว์
ประซากรส่วนใหญ่จะเลี้ยงสัตว์เพื่อขายและบริโภคในครัวเรือน สัตว์ที่เลี้ยง ได้แก่ สุกร ไก่
เป็ด โค และกระบือ
๔. ข้อมูลด้านสังคม
๔.๑ ข้อมูลศาสนสถาน
จำนวนวัด ๑๐ แห่ง
๑. วัดบ้านเมืองน้อย หมู่ที่ ๑
๒. วัดบูรพาเมืองน้อย หมู่ที่ ๒
๓. วัดสระแก้ว หมู่ที่ ๓
๔. วัดราษฎร์สามัคคีมะยาง หมู่ที่ ๔
๕. วัดหนองมะแชว หมู่ที่ ๕
๖. วัดยางสินไชย หมู่ที่ ๖
๗. วัดสว่างหนองเบิด หมู่ที่ ๗
๘. วัดป่าธรรมนิยมสงเคราะห์ หมู่ที่ ๘
๙. วัดหนองลาดควาย หมู่ที่ ๙
๑๐. วัดมิ่งกลาง หมู่ที่ ๑๐
๑๑. วัดป่าสัจจะธรรม หมู่ที่ ๑๓
๔.๒ ข้อมูลสถานศึกษา
ปัจจุบันองค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อยยังไม่มีโรงเรียนในสังกัด แต่มีศูนย์พัฒนาเด็กเล็กใน
สังกัด จำนวน ๓ แห่ง มีรายละเอียดดังนี้
๑. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเมืองน้อย
มีนักเรียน จำนวน ๓๔ คน
มีครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๑ คน
มีครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๑ คน
๒. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองเบิด
มีนักเรียน จำนวน ๑๓ คน
มีครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๑ คน
๓. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านมะยาง
มีนักเรียน จำนวน ๓๐ คน
มีครู จำนวน ๑ คน
มีครูผู้ดูแลเด็ก จำนวน ๑ คน
นอกจากนี้ ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย มีสถานศึกษาในสังกัดหน่วยงานต่าง ๆ ดังนี้
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑. โรงเรียนบ้านเมืองน้อย
๒. โรงเรียนบ้านหนองเบิด
๓. โรงเรียนบ้านมะยาง
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
๑. โรงเรียนเมืองน้อยวิทยาคม
๕.ข้อมูลด้านสาธารณสุข
ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลเมืองน้อย มีสถานบริการด้านการสาธารณสุข ดังนี้
-โรงพยาบาลของรัฐ จำนวน ๑ แห่ง
๖.ข้อมูลด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย/กู้ชีพกู้ภัย
๖.๑ จำนวนเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน
- อาสาสมัครป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
- จิตอาสาภัยพิบัติตำบลเมืองน้อย
- อาสาสมัครสาธารณสุขชุมชน
๖.๒ เครื่องมือ/อุปกรณ์
- ถังดับเพลิง จำนวน ๑ ถัง
- กระเป๋าเวชภัณฑ์ จำนวน ๑ ใบ
- เปลเคลื่อนย้ายผู้ป่วย จำนวน ๑ เปล
- ชุดดามแขน ขา จำนวน ๑ ชุด
- วิทยุสื่อสาร จำนวน ๖ ตัว
๗. ข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อม
๗.๑ ภูมิอากาศ
อุณหภูมิสูงสุด ๓๙ องศาเซลเชียส ต่ำสุดเฉลี่ย ๑๐ องศาเซลเชียส
ฤดูร้อน - เริ่มประมาณเดือนมีนาคม - พฤษภาคม ร้อนที่สุดประมาณเดือนเมษายน
ฤดูฝน - เริ่มประมาณเดือนมิถุนายน - ตุลาคม มีฝนตกชุกประมาณเดือนสิงหาคม
ฤดูหนาว - เริ่มประมาณเดือนพฤศจิกายน - กุมภาพันธ์ หนาวที่สุดประมาณ เดือนธันวาคม - มกราคม
View : 344